มะละกอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carica papaya) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่งในวงศ์มะละกอ (Caricaceae)สูงประมาณ 5–10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในมีโซอเมริกา ซึ่งปัจจุบันอยู่ในบริเวณเม็กซิโกตอนใต้ถึงอเมริกากลาง] ก่อนนำเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้ ใน ค.ศ. 2020 ประเทศอินเดียผลิตมะละกอถึง 43%
การใช้งาน
มะละกอ | |
---|---|
พืชและผล ภาพจาก Medicinal-Plants (1887) ของ Koehler | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอตา |
อาณาจักร: | พืช |
เคลด: | พืชมีท่อลำเลียง |
เคลด: | พืชดอก |
เคลด: | พืชใบเลี้ยงคู่แท้ |
เคลด: | โรสิด |
อันดับ: | อันดับผักกาด |
วงศ์: | วงศ์มะละกอ |
สกุล: | สกุลมะละกอ L.[2] |
สปีชีส์: | Carica papaya |
ชื่อทวินาม | |
Carica papaya L.[2] |
โภชนาการ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 179 กิโลจูล (43 กิโลแคลอรี) |
10.82 g
|
|
น้ำตาล | 7.82 g |
ใยอาหาร | 1.7 g |
0.26 g
|
|
0.47 g
|
|
วิตามิน | |
วิตามินเอ |
(6%)
47 μg (3%)
274 μg 89 μg
|
ไทอามีน (บี1) |
(2%)
0.023 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) |
(2%)
0.027 มก. |
ไนอาซิน (บี3) |
(2%)
0.357 มก. |
(4%)
0.191 มก. |
|
โฟเลต (บี9) |
(10%)
38 μg |
วิตามินซี |
(75%)
62 มก. |
วิตามินอี |
(2%)
0.3 มก. |
วิตามินเค |
(2%)
2.6 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม |
(2%)
20 มก. |
เหล็ก |
(2%)
0.25 มก. |
แมกนีเซียม |
(6%)
21 มก. |
แมงกานีส |
(2%)
0.04 มก. |
ฟอสฟอรัส |
(1%)
10 มก. |
โพแทสเซียม |
(4%)
182 มก. |
โซเดียม |
(1%)
8 มก. |
สังกะสี |
(1%)
0.08 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 88 g |
Lycopene | 1828 µg |
|
|
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
แพทย์แผนโบราณ
ในการแพทย์แผนโบราณ มีการใช้มะละกอในการรักษาโรคมาลาเรีย,ยาแท้ง, ยาระบาย หรือสูดควันเพื่อบรรเทาอาการหอบหืด
รีวิว
There are no reviews yet